CPU MOS6502 - intel core 2 duo
CPU
MOS 6502
ตัวนี้เคยใช้กันใน Apple I และ
Apple II, Atari
2600, Nintendo NES, Commodore PET และอื่นๆ อีกมากมาย สำหรับแฟนๆ
ภาพยนตร์ อาจจะจำชื่อ processor รุ่นนี้ได้จากหนังของอาร์โนลด์
สวาร์ซเนกเกอร์ ทั้งเรื่อง Terminator ภาคแรก และ Futurama’s Bender
ที่น่าทึ่งคือ ยังมีการใช้ 6502 อยู่ในปัจจุบัน
และไม่ได้ใช้กับเครื่องจักรกลตกรุ่นหรือเครื่องจักรกลในนิยายเสียด้วย processor
ในตระกูล 6502 จำนวนมหาศาลยังคงทำงานอยู่กับเครื่องจักรกลที่ใช้เฝ้าดูและควบคุมอุตสาหกรรม
MOS 6502 เป็น 8 บิต CPU ความสามารถในการอยู่
64 กิโลไบต์หน่วยความจำระบบ
Zilog Z80
Z80 มีพื้นฐานมาจาก Intel 8080 แต่มียอดขายดีกว่าเพราะสามารถทำได้มากกว่าในราคาที่น้อยกว่า
มีการใช้ processor รุ่นนี้ใน PC จำนวนมาก
แต่รุ่นที่รู้จักกันมาที่สุดคงเป็น TRS-80 ในสหรัฐอเมริกา และ Amstrad
CPC/PCW, Sinclair ZX80, ZX81 and ZX Spectrum ในอังกฤษ
และยังมีการใช้ในอุปกรณ์ทางการทหาร เครื่องเล่นเกมอาร์เคด
และเครื่องมือสื่อสารอีกด้วย ถือเป็น CPU ที่มีการใช้งานกันมากที่สุดนับตั้งแต่ปลายยุค
1970 มาจนถึงกลางยุค 1980
Zilog Z80 เป็น 8 บิต CPU ความสามารถในการอยู่
64 กิโลไบต์หน่วยความจำระบบ
INTEL CPU รุ่น 8080
8080 เป็น microprocessor แบบ
8 บิทออกจำหน่าย ประกอบด้วย ทรานซิสเตอร์ ประมาณ 6,000
ตัว ใช้สัญญาณนาฬิกาที่ความถี่ 2 MHz Ed Roberts เจ้าของบริษัท
Micro Instrumentation Telemetry systems ได้จัดชุดคิท (ผู้ซื้อประกอบเอง)
เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้ 8080 และลงโฆษณาในวารสาร Popular
INTEL CPU รุ่น 8080 แบบ
8 บิทออกจำหน่าย ประกอบด้วย ทรานซิสเตอร์ ประมาณ 6,000ตัว
ใช้สัญญาณนาฬิกาที่ความถี่ 2 MHz
รุ่น 8086 8088
Intel ได้ผลิต 8086-8088 Microprocessor ออกสู่ตลาด
เป็น microprocessor ขนาด 8 บิทโดยบริษัท IBM นำมาใช้กับเครื่อง
PC ในตระกูล IBM PC หรือที่รู้จักกันในนาม
XT และ CPU ตัวนี้ก็เป็นต้นแบบของ
CPU ในสถาปัตยกรรม X86 ที่
Intel หรือแม้บริษัทอื่น นำมาผลิต CPU ที่ใช้กับเครื่อง
PC จนถึงปัจจุบันนี้ (ยกเว้นก็แต่ตัว Intel
เอง ซึ่งผลิต CPU ขนาด 64 บิต
ที่ไม่ใช้สถาปัตยกรรม X86) 8088, 8086 เป็น CPU ที่ประมวลผลทีละ
8 บิต มีชุดคำสั่ง 76 คำสั่ง
ระบบปฏิบัติการที่สนับสนุน CPU ตัวนี้ก็คือ DOS อันเลื่องชื่อของไมโครซอฟท์
8086 8088 cpu ที่ประมวลผลทีละ 8 บิต มีชุดคำสั่ง76
คำสั่ง 5 MHz to 10 MHz
Intel 8087
Intel ได้ออกแบบ 8087 coprocessor เพื่อใช้กับ
8088 และ 8086 microprocessor โปรแกรมที่ใช้
คำสั่งทางด้านทศนิยมน้อยอาจจะไม่ต้องสนใจกับตัว coprocessor โดยจะทำการตามคำสั่งโดยใช้ชุดคำสั่งของ
8088 ในกรณีที่มีการใช้คำสั่งทางทศนิยม
โปรแกรมบางอย่างจะตรวจสอบว่ามี 8087อยู่หรือไม่และจะเรียกใช้ ถ้ามีอยู่
โปรแกรมนอกเหนือจากนี้จะใช้ software ในการจัดการกับ floating-point แต่ก็มีบางโปรแกรมที่ต้อง
การเรียกใช้ จะให้คำสั่งทางคณิตศาสตร์สำหรับข้อมูลบางอย่าง เช่น 16-bit
word ,32-bit short integer ,64-bit long integer ,32-bit short floating-point
number ,64-bit long floating-point number ,80-bit temporary floating-point
number และ 80-bit packed decimal number โดยมันจะ
ขยายชนิดของข้อมูลที่มีใน 8088 CPU โดย 8087 จะ compatible
กับ มาตรฐานของ IEEE Floating-point Standard จะใช้ระบบ
2’s compliment กับจำนวน integer การแสดงจำนวน
floating-point
รุ่น 80286
ในปี ค.ศ. 1982
บริษัท Intel เริ่มผลิต 80286 microprocessor ในช่วงเวลา
6 ปีของการผลิต มีเครื่อง PC ประมาณ
15 ล้านเครื่อง ที่ใช้ CPU ตัวนี้ทั่วโลก
โดย 80286 สามารถทำงานกับโปรแกรมที่เขียนให้กับ 8088
ได้
ยุคเริ่มต้น CPU ขนาด
16 บิตเริ่มจาก CPU ตัวนี้
โดยมีโหมดการทำงานอยู่ 2 โหมด คือ Standard mode และ
Protected mode ( ระบบปฏิบัติการ Windows ที่ทำงานบนเครื่อง
286 จะทำงานใน Standard mode) มีการอ้างอิงตำแหน่งได้
16Mbyte
80286 เป็นแบบ 16 bit ภายในมีทรานซิลเตอร์บรรจุอยู่ประมาณ 130,000
ตัว 6 MHz (4 MHz for a short time) to 25 MHz
Intel 80386DX
ไมโครโปรเซสเซอร์ ในยุคที่ 3 (ตระกูล
i386)
ใน ปี 1985-1988 Intelได้ประกาศตัวโปรเซสเซอร์ตัวใหม่ขนาด
32 บิตที่มีความสามารถสูงกว่า 80286ซึ่งได้แก่
โปรเซสเซอร์ในยุคที่ 3 คือ 80386DX ซึ่ง
ในปี 1985 ที่ประกาศตัวนี้ มีถึง 4 รุ่นด้วยกัน
ได้แก่16, 20, 25 และ 33MHzโดยรุ่น
33MHz นี้มีอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงถึง 50MB/s
และมีประสิทธิภาพในการประมวลผลสูงถึง11.4MIPS สำหรับโปรเซสเซอร์ในยุคที่
3 นี้ มีสองแบบ ได้แก่80386DX และ
80386SX
Intel 80386DX ทำงาน 32 บิต มี4รุ่น
16, 20, 25 และ 33MHz โดยรุ่น
33MHz นี้มีอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงถึง 50MB/s
รุ่น 80486
ความจริงก็คือ 80386 รุ่นปรับปรุงนั้นเองโดยได้เพิ่มตัวประมวลผลทางคณิตศาสตร์
(Math co-processor) เพิ่มหน่วยความจำ Cache ภายใน
CPU ทำให้ 80486 ทำงานได้เร็วขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
และได้เพิ่มการทำงานที่เรียกว่าpipeliningเข้าไป แต่เนื่องจากว่า 80486 ที่มี
math co-processor มีราคาค่อนข้างสูง Intel จึงได้ออก
CPU 80486SX ซึ่ง ได้ถอด math co-processor ออก
( ตัว 80486 ที่มี math co-processor เรียกว่า
80486DX) ทำให้มีราคาถูกลง ตัว 80486 เองได้มีการปรับปรุงขึ้นมาอีกขั้นขึ้นการทำงานในลักษณะที่เรียกว่า
Clock doubling คือ เป็นการเพิ่ม Speed ของ
Clock ให้สูงขึ้น เช่น 80486DX/2 ทำงาน
Clock speed 40/50/60 MHz 80486DX4 ทำงานที่ Clock speed 100 MHz เป็นต้น
จากการที่ Clock speed สูงขึ้น
บวกกับการที่ได้เพิ่มอุปกรณ์บางอย่างเช่น หน่วยความจำแคชที่มากขึ้น ทำให้ CPU
รุ่นนี้ได้รับความนิยมอยู่เป็นเวลานาน
CPU 80486
มีความเร็วตั้งแต่ 20 , 25 , และ 33 MHz ทำงานแบบ 32 bit
Intel Pentium (1993-1998)
ในช่วงแรกได้ผลิตออกมาที่ความเร็ว 60
และ66 เมกะเฮิรตซ์ อีกไม่นานนักอินเทลก็ได้
ผลิตความเร็วสูงขึ้นอีกเป็น 75 และ 90
เมกิเฮิรตซ์ ซึ่งมีสถาปัตยกรรมที่แตกต่างจากรุ่นแรกๆ
และยังสามารถพัฒนาความเร็วไปได้อีกคือ 100 , 13 , 150
และ 166 เมกะเฮิรตซ์ เป็นซีพียูที่มีขีด
ความสามารถสูงขั้นทั้งทางด้านความเร็วและเทคโนโลยี มีแคชภายในมากขึ้น และมี
ความสามารถในการทำงานกับเลขทศนิยมได้ดีขึ้น และมีความสามารถในการทำงานกับเลข
ทศนิยมได้ดีขึ้นโดยรุ่นแรกๆนั้นมีทรานซิสเตอร์ล้านกว่าตัว
จึงทำให้มีความร้อนสูงมาก
1995 : Pentium Pro Processor สำหรับเครื่อง Server และ
Work Station โดยต่อมาได้ผลิตเทคโนโลยี MMX และทำเป็น
Intel MMX
1997 : Pentium II Processor รวมTechnology ของ
Pentium Pro คือ มี cache ระดับ
2 รวมอยู่บนpackage เดียวกับ
CPU กับ Technology MMX ไว้ด้วยกัน
แล้วทำการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายใน
1998 : Pentium II Xeon(TM) Processor สำหรับ
Server และ Work Station
Pentium ll เป็นซีพียูที่ประกอบไปด้วยเทคโนโลยีของ
Pentium Pro ผนวกเข้ากับเทคโนโลยี MMX ที่ใช้สถาปัตยกรรมการทำงานแบบใหม่ที่เรียกว่า
“Single InstructionMultiple Data (SIMD)” ซึ่งได้มีการปรับโครงสร้างสถาปัตยกรรมภายในซิปถึง
70 จุด เพื่อเร่งความเร็วในการ ทำงานแบบ 64
บิต และยังมีการเพิ่มชุดคำสั่งเข้าไปอีก 70 คำสั่ง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ประมวลผลงานด้าน 3 มิติ
1999 : Celeron(TM) Processor สำหรับตลาดระดับล่างของ
Intel ที่ตัดความสามารถบางส่วนออก เพื่อลด
ต้นทุนการผลิต และ สามารถขายได้ในราคาที่ถูกกว่า Pentium II มาก
แต่ถึงแม้ Celeron ที่ออกมานั้น จะใช้ในงานด้าน เล่นเกมส์ได้ดี
แต่กลับงานประเภท office application กลับทำได้แย่กว่า หรือ พอๆกับ Pentium
MMX
1999 : Pentium III Processor เพิ่มชุดคำสั่งที่ช่วยประมวลผลในด้านต่างๆไปใหม่
ในลักษณะของ MMX
เป็นซีพียูที่มีความเร็วเริ่มต้นที่ 450
MHz ไปจนถึง 620 MHz ใช้เทคโนโลยีการผลิตขนาด0.25
ไมครอน มีทรานซิสเตอร์จำนวน 28 ล้านตัว ใช้สถาปัตยกรรมแบบ SECC
2 (Single Edge Contact Cartridge 2 )
1999 : Pentium III Xeon(TM)
Processor สำหรับ Server และ
Work Station
ใช้เทคโนโลยีการผลิตขนาด 0.18
ไมครอน มีทรานซิสเตอร์จำนวน 28 ล้านตัว ซีพียูมีแพ็คเกจแบบ SECC2
และลดขนาดของหน่วยความจำแคชระดับสองลงเหลือเพียงครึ่งหนึ่งคือ 256 KB แต่เป็น
หน่วยความจำแคชที่สร้างบนชิปซีพียูซึ่งทำงานที่ความเร็วเดียวกับซีพียู
เท่ากับว่าแคชของซีพียูคอปเปอร์ไมน์ทำงานเร็วเป็น 2
เท่า ของซีพียูแคทไม โดยหน่วยความจำแคชระดับสองนี้จะใช้ เทคโนโลยีใหม่ที่เรียกว่า Advanced
Transfer Cache: ATC
2001 : Pentium 4 Processor มีเทคโนโลยี HT ทำให้การใช้งานทีละหลายโปรแกรมได้ดีขึ้น
เพนเทียมโฟร์ Pentium 4
เป็นรุ่นที่ค่อนข้างจะมีความเร็วผิดจากที่คาดไว้ และมี Cache น้อย
อย่างไรก็ดี ชิปชุดนี้ก็ได้รับการพัฒนาขึ้นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นสถาปัตยกรรมการ
ออกแบบที่ใหม่ทั้งหมด ระบบไปป์ไลน์ 20 ขั้น
ต่อมาได้ชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า Intel Pentium Processor ที่จะมาแทนที่
Pentium III จะออกสู่ตลาดด้วยความเร็วเริ่มต้นที่ 1.4
GHz 1.5 GHz ภายใต้สถาปัตยกรรมใหม่ล่าสุดที่ชื่อ Intel
NetBurst micro - architecture นอกจากนี้ ยังได้เพิ่มชุดคำสั่งใหม่ SSE
2 เข้าไปอีก 144 ชุดคำสั่ง
2005 : Pentium D มีการใช้สถาปัตยกรรมแบบ
Multi-core เพิ่มเข้ามาโดยมี2 coreแต่ละ
core จะเป็นอิสระต่อกัน
ซี พียู Pentium D นับเป็นก้าวแรกสู่ยุค
Dual& Muti-Core ของ Intel โดย
Pentium D ถูกออกมา เพื่อการทำงานที่ต้องการ Multitasking
สูงๆ
หรือสามารถทำงานกับแอพพลิเคชั่นได้หลายตัวพร้อมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่- Pentium
D ( Smithfield-90nm)- Pentium D (Presler-65 nm)
2006 : Intel Core 2 Duo รองรับชุดคำสั่ง 64 bit และยังประหยัดพลังงานมากขึ้นด้วย
CPU
|
Bit
|
ความถี่การประมวณผล
|
MOS
6502
|
8
|
1MHz
|
Zilog
z80
|
8
|
1 MHz
|
Intel
8080
|
8
|
2 MHz
|
Intel
8086 8088
|
8
|
5-10
MHz
|
Intel
80286
|
16
|
6-25
MHz
|
Intel
80386
|
32
|
16,
20, 25 33 MHz
|
Intel
80486
|
32
|
20,
25, 33 MHz
|
Intel
Pentium
|
60,
66
|
|
75,
90
|
||
100,
130, 150, 166 MHZ
|
CPU
|
แคส
|
ความถี่การประมวณผล
|
Pentium
D
|
2 - 4MB
|
2.8 -
3.60GHz
|
Intel
Core 2 Duo
|
2 MB
|
2.6
GHz
|
:ที่มา ;
http://www.it-reborn.com/%E0%B8%A2%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%95-10-cpu-%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%B2-%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%99/
http://com521-10.blogspot.com/2009/07/intel-cpu-8080.html
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น