แก้ไข CPU Intel ส่งอ.บพิตร
CPU Intel
MOS 6502
ใช้ใน Apple I , Apple II และprocessor
จำนวนมากยังทำงานอยู่กับเครื่องจักรกลที่ใช้เฝ้าดูและควบคุมอุตสาหกรรม
MOS 6502 เป็น 8 บิต CPU ความสามารถในการอยู่ 64 กิโลไบต์หน่วยความจำระบบ
Intel 8080
มี
microprocessor 8 bit to 4 MHz RAM 64 KB 256
พอร์ต I / O
ทาง
intel ได้พบข้อบกพร่องแล้วได้ปรับจนใช้กับ TTL
มาตรฐานได้ และเป็นตัวที่จะพัฒนาเป็น
Z80
Zilog Z80
Z80 มีพื้นฐานมาจาก Intel 8080 แต่มียอดขายดีกว่าเพราะมีการใช้ processor รุ่นนี้ใน PC จำนวนมาก แต่รุ่นที่รู้จักกันมาที่สุดคงเป็น TRS-80 ในสหรัฐอเมริกา และในอังกฤษ
และยังมีการใช้ในอุปกรณ์ทางการทหาร เครื่องเล่นเกมอาร์เคด และเครื่องมือสื่อสาร
ถือเป็น CPU ที่มีการใช้งานกันมากที่สุดนับตั้งแต่ปลายยุค 1970 มาจนถึงกลางยุค 1980
Zilog Z80 มี microprocessor 8 bit RAM 64 KB 256 พอร์ต I / O
รุ่น 8086 8088
Intel 8086-8088
Microprocessor 16 bit RAM 1 MB
8086 ทำให้เกิดสถาปัตยกรรม
x86 ซึ่งทำให้ประสบความสำเร็จมากของอินเทล
ส่วน 8088 จะต่างตรงที่ ขาที่34 จะไม่มี BHE
Intel 8087
Intel ได้ออกแบบ 8087 coprocessor เพื่อใช้กับ 8088 และ 8086
microprocessor โปรแกรมที่ใช้
คำสั่งทางด้านทศนิยมน้อยอาจจะไม่ต้องสนใจกับตัว coprocessor โดยจะทำการตามคำสั่งโดยใช้ชุดคำสั่งของ 8088 ในกรณีที่มีการใช้คำสั่งทางทศนิยม โปรแกรมบางอย่างจะตรวจสอบว่ามี 8087
รุ่น 80286
ในปี ค.ศ. 1982 บริษัท Intel เริ่มผลิต 80286 microprocessor ในช่วงเวลา 6 ปีของการผลิต มีเครื่อง PC ประมาณ 15 ล้านเครื่อง ที่ใช้ CPU ตัวนี้ทั่วโลก โดย 80286 สามารถทำงานกับโปรแกรมที่เขียนให้กับ 8088 ได้
ยุคเริ่มต้น CPU ขนาด 16 บิตเริ่มจาก CPU ตัวนี้ โดยมีโหมดการทำงานอยู่ 2 โหมด คือ Standard mode และ Protected mode ( ระบบปฏิบัติการ Windows ที่ทำงานบนเครื่อง 286 จะทำงานใน Standard mode) มีการอ้างอิงตำแหน่งได้ 16Mbyte
80286 เป็นแบบ 16 bit ภายในมีทรานซิลเตอร์บรรจุอยู่ประมาณ 130,000 ตัว 6 MHz (4 MHz for a short time) to 25 MHz
Intel 80386DX
ไมโครโปรเซสเซอร์
ในยุคที่ 3 (ตระกูล i386)
ใน ปี 1985-1988 Intelได้ประกาศตัวโปรเซสเซอร์ตัวใหม่ขนาด 32 บิตที่มีความสามารถสูงกว่า 80286ซึ่งได้แก่ โปรเซสเซอร์ในยุคที่ 3 คือ 80386DX ซึ่ง ในปี 1985 ที่ประกาศตัวนี้ มีถึง 4 รุ่นด้วยกัน ได้แก่16,
20, 25 และ 33MHzโดยรุ่น 33MHz นี้มีอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงถึง 50MB/s และมีประสิทธิภาพในการประมวลผลสูงถึง11.4MIPS สำหรับโปรเซสเซอร์ในยุคที่ 3 นี้ มีสองแบบ ได้แก่80386DX และ 80386SX
Intel 80386DX ทำงาน 32 บิต มี4รุ่น 16, 20, 25 และ 33MHz โดยรุ่น 33MHz นี้มีอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงถึง 50MB/s
รุ่น 80486
ความจริงก็คือ 80386 รุ่นปรับปรุงนั้นเองโดยได้เพิ่มตัวประมวลผลทางคณิตศาสตร์
(Math co-processor) เพิ่มหน่วยความจำ Cache ภายใน CPU ทำให้ 80486 ทำงานได้เร็วขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
และได้เพิ่มการทำงานที่เรียกว่าpipelining เข้าไป แต่เนื่องจากว่า 80486 ที่มี math co-processor มีราคาค่อนข้างสูง
Intel จึงได้ออก CPU 80486SX ซึ่ง ได้ถอด math co-processor ออก ( ตัว 80486 ที่มี math co-processor เรียกว่า 80486DX) ทำให้มีราคาถูกลง ตัว 80486 เองได้มีการปรับปรุงขึ้นมาอีกขั้นขึ้นการทำงานในลักษณะที่เรียกว่า Clock doubling คือ เป็นการเพิ่ม Speed ของ Clock ให้สูงขึ้น เช่น 80486DX/2 ทำงาน Clock speed 40/50/60 MHz 80486DX4 ทำงานที่ Clock speed 100 MHz เป็นต้น จากการที่ Clock speed สูงขึ้น
บวกกับการที่ได้เพิ่มอุปกรณ์บางอย่างเช่น หน่วยความจำแคชที่มากขึ้น ทำให้ CPU รุ่นนี้ได้รับความนิยมอยู่เป็นเวลานาน
Intel Pentium
(1993-1998)
ในช่วงแรกได้ผลิตออกมาที่ความเร็ว 60 และ66 เมกะเฮิรตซ์ อีกไม่นานนักอินเทลก็ได้ ผลิตความเร็วสูงขึ้นอีกเป็น 75 และ 90 เมกิเฮิรตซ์
ซึ่งมีสถาปัตยกรรมที่แตกต่างจากรุ่นแรกๆ และยังสามารถพัฒนาความเร็วไปได้อีกคือ 100
, 13 , 150 และ 166 เมกะเฮิรตซ์
เป็นซีพียูที่มีขีด ความสามารถสูงในด้านความเร็วและเทคโนโลยี มีแคชภายในมากขึ้น
และทำงานกับเลขทศนิยมได้ดีขึ้น
1995 : Pentium Pro
Processor สำหรับเครื่อง Server และ Work Station โดยต่อมาได้ผลิตเทคโนโลยี MMX และทำเป็น Intel MMX
1997 : Pentium II
Processor รวมTechnology ของ Pentium Pro คือ มี cache ระดับ 2 รวมอยู่บนpackage เดียวกับ CPU กับ Technology MMX
1998 : Pentium II
Xeon(TM) Processor สำหรับ Server และ Work Station
Pentium ll เป็นซีพียูที่ประกอบไปด้วยเทคโนโลยีของ Pentium Pro ผนวกเข้ากับเทคโนโลยี MMX ที่ใช้สถาปัตยกรรมการทำงานแบบใหม่ที่เรียกว่า “Single InstructionMultiple Data (SIMD)” เพื่อเร่งความเร็วในการ ทำงานแบบ 64 บิต และยังมีการเพิ่มชุดคำสั่งเข้าไปอีก 70 คำสั่ง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ประมวลผลงานด้าน 3 มิติ
1999 : Celeron(TM)
Processor ผลิตมาเพื่อตลาดระดับล่างของ Intel ที่ตัดความสามารถบางส่วนออก เพื่อลด
ต้นทุนการผลิต และ สามารถขายได้ในราคาที่ถูกกว่า Pentium II มาก แต่ถึงแม้ Celeron ที่ออกมานั้น จะใช้ในงานด้าน เล่นเกมส์ได้ดี
แต่กลับงานประเภท office application กลับทำได้แย่กว่า หรือ พอๆกับ Pentium MMX
1999 : Pentium III
Processor เพิ่มชุดคำสั่งที่ช่วยประมวลผลในด้านต่างๆไปใหม่
ในลักษณะของ MMX
เป็นซีพียูที่มีความเร็วเริ่มต้นที่ 450 MHz ไปจนถึง 620 MHz ใช้สถาปัตยกรรมแบบ SECC 2 (Single Edge Contact Cartridge 2 )
1999 : Pentium III
Xeon(TM) Processor สำหรับ Server และ Work Station
ซีพียูมีแพ็คเกจแบบ SECC2 และลดขนาดของหน่วยความจำแคชระดับสองลงเหลือเพียงครึ่งหนึ่งคือ 256 KB
2001 : Pentium 4
Processor มีเทคโนโลยี HT ทำให้การใช้งานทีละหลายโปรแกรมได้ดีขึ้น
เพนเทียมโฟร์ Pentium 4 เป็นรุ่นที่ค่อนข้างจะมีความเร็วผิดจากที่คาดไว้
และมี Cache น้อย อย่างไรก็ดี
ชิปชุดนี้ก็ได้รับการพัฒนาขึ้นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นสถาปัตยกรรมการ
ออกแบบที่ใหม่ทั้งหมด
2005 : Pentium D มีการใช้สถาปัตยกรรมแบบ Multi-core เพิ่มเข้ามาโดยมี2 coreแต่ละ core จะเป็นอิสระต่อกัน
ซี พียู Pentium D นับเป็นก้าวแรกสู่ยุค Dual& Muti-Core ของ Intel โดย Pentium D ถูกออกมา เพื่อการทำงานที่ต้องการ Multitasking สูงๆ
หรือสามารถทำงานกับแอพพลิเคชั่นได้หลายตัวพร้อมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่- Pentium D ( Smithfield-90nm)- Pentium D
(Presler-65 nm)
2006 : Intel Core 2
Duo รองรับชุดคำสั่ง 64 bit และยังประหยัดพลังงานมากขึ้นด้วย
คำศัพท์ที่ควรรู้
Cores คือ แกนประมวลผลที่ระบุถึงจำนวนหน่วยประมวลผลกลาง
Cache คือ บริเวณที่หน่วยความจำที่รวดเร็วอยู่บนโปรเซสเซอร์
Bus speed คือ ระบบย่อยที่ถ่ายโอนข้อมูลระหว่างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Processor Base Frequency คือ อัตราที่เกิดการเปิดและปิดของทรานซิสเตอร์ของโปรเซสเซอร์ ความถี่ จะถูกวัดเป็นกิกะเฮิรตซ์ (GHz)
Max Turbo Frequency คือ ความถี่สุดสุดของแกนประมวลผลแกนเดียวที่โปรเซสเซอร์สามารถปฏิบัติการณ์โดยใช้เทคโนโลยี Intel® Turbo Boost
Sockets Supported คือ การเชื่อมระหว่างโปรเซสเซอร์และเมนบอร์ด
Max Memory Size คือ ความจุสูงสุดของหน่วยความจำที่โปรเซสเซอร์รองรับ
ตารางเปรียบเทียบระหว่าง intel i3 i5 i7
i9 ที่ออกมาใหม่ล่าสุด คนส่วนใหญ่ไม่ได้ทำงานกราฟฟิกหรือต้องเฟรมเรดสูงๆก็จะยังไม่นิยมใช้เนื่องในราคาที่สูง
และยังมีเรื่อง socket ที่หาเมนบอร์ดใช้ยาก แต่มองอีกมุมคือคนทำงานด้านกราฟฟิกก็จะมีคนใช้เนื่องในมีความเร็วมากเพราะ core เยอะ
ตัวอย่าง
Intel® Core™ i9-7980XE Extreme Edition Processor
มี Cores 18
Processor Base Frequency 2.60 GHz
Max Turbo Frequency 4.20 GHz
Max Memory Size 128 GB
Sockets Supported FCLGA2066
:ที่มา ;
http://www.cpu-world.com/CPUs/8080/
https://www.makeuseof.com/tag/intel-core-i3-vs-i5-vs-i7-one-really-need/
https://ark.intel.com/products/126699/Intel-Core-i9-7980XE-Extreme-Edition-Processor-24_75M-Cache-up-to-4_20-GHz
https://www.makeuseof.com/tag/intel-core-i3-vs-i5-vs-i7-one-really-need/
https://ark.intel.com/products/126699/Intel-Core-i9-7980XE-Extreme-Edition-Processor-24_75M-Cache-up-to-4_20-GHz
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น